การพัฒนาประเทศด้วยมาตรการยกระดับความสามารถในการแข่งขัน

การพัฒนาประเทศด้วยมาตรการยกระดับความสามารถในการแข่งขัน

ด้านเศรษฐกิจและประสิทธิภาพการดำเนินงานของภาครัฐ

1. การพัฒนาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาคและกระตุ้นการลงทุน โดยการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ

 –
ฟื้นฟูและรักษาการขยายตัวทางเศรษฐกิจด้วยความเชื่อมั่นจากนักท่องเที่ยวและนักลงทุนต่างชาติ

 – เพิ่มเม็ดเงินในระบบเศรษฐกิจ จากภาครัฐด้วยการส่งเสริมการลงทุนในโครงการต่างๆ

 – มาตรการส่งเสริมการลงทุนโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง

 -มาตรการเร่งรัดโครงการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ
(
PPP Fast Track)

– มาตรการอื่นๆ แก้ปัญหาของเกษตรกร และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
(
SMEs)

– การเร่งดาเนินโครงการบริหารจัดการน้ำ

– ผลักดันพ.ร.บ.การเงินการคลัง และพ.ร.บ.การบริหารทุนหมุนเวียน

– การเพิ่มประสิทธิภาพภาคการเงิน ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ

-พ.ร.บ.หลักประกันทางธุรกิจ

2. ปรับยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุนของประเทศ
ทั้งที่เกี่ยวข้องกับภาษีและไม่ใช่ภาษี
โดย

ดึงดูดการลงทุนด้วยมาตรการสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ
และเน้นการลงทุนที่ส่งเสริม

และบ่มเพาะบุคลากรที่มีศักยภาพเชี่ยวชาญเฉพาะ
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดังนี้

– สิทธิประโยชน์ตามประเภทกิจการ

– สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ

– สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมเชิงพื้นที่

– สิทธิประโยชน์สาหรับ SMEs

– มาตรการเร่งรัดการลงทุน สำหรับโครงการที่ยื่นขอรับการส่งเสริม
ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2557- 30

มิ.ย. 2559

– มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

3. สนับสนุนผู้ประกอบการรายใหม่ (Start up) และการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (New S-curve)

4. เร่งรัดส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจให้ความร่วมมือในการดำเนินการเพื่อยกอันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจ
(
Ease of Doing Business)

โดยจะต้องมีขั้นตอนการดำเนินธุรกิจ ดังนี้

ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

       รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับปัญหาที่เกี่ยวข้องด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
โดยมอบหมายกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดำเนินการตามแผนงาน
โครงการ ซึ่งที่ผ่านมาการดำเนินการเพื่อสนับสนุนแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สรุปได้ดังนี้

1. การจัดการเรียนการสอนเพื่อวางรากฐานการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ

 –
การพัฒนาทักษะการอ่านจากนโยบายปลอดนักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้

– การพัฒนาการเรียนรู้ตามโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

– การพัฒนาทักษะด้านคิดวิเคราะห์
ตั้งคณะกรรมการนโยบายการจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา (
STEM)

– การพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ

2. การผลิตกำลังคน และงานวิจัยที่ตรงกับความต้องการของประเทศ

เพื่อแก้ปัญหาการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ไม่ตรงตามความต้องการ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
การขาดแรงงานสายวิชาชีพ ยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงาน และผลักดันให้การวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง

-โครงการยกระดับคุณภาพการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ร่วมมือสถานประกอบการ

ที่มา : thaiquote